การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การตีพิมพ์บทความระดับนานาชาติ

การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การตีพิมพ์บทความระดับนานาชาติ
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
วันที่ 31 สิงหาคม 2564

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2

โครงการสัมมนาเรื่อง
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
ตอน วารสารที่ตีพิมพ์บทความนานาชาติในฐานข้อมูลสากล
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2564

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #1

โครงการสัมมนาเรื่อง
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2564

“มุมมองการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา”

“มุมมองการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา”
โดยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รายการ คิดบวกคิดใหม่ เพื่อครูไทย
วันที่ 2 สิงหาคม 2564
สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV)
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

Live & Learn


Live & Learn
บอย โกสิยพงษ์

เมื่อวันที่ชีวิต
เดินเข้ามาถึงจุดเปลี่ยน
จนบางครั้งคนเราไม่ทันได้ตระเตรียมหัวใจ
ความสุขความทุกข์
ไม่มีใครรู้ว่าจะมาเมื่อไหร่
จะยอมรับความจริงที่เจอได้แค่ไหน
เพราะชีวิตคือชีวิต
เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสมมีผิดหวัง
หัวเราะหรือหวั่นไหว
เกิดขึ้นได้ทุกวัน
อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน
เติมความคิดสติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มีไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

สุขก็เตรียมไว้
ว่าความทุกข์คงตามมาอีกไม่ไกล
จะได้รับความจริงเมื่อต้องเจ็บปวดไหว
เพราะชีวิตคือชีวิต
เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสมมีผิดหวัง
หัวเราะหรือหวั่นไหว
เกิดขึ้นได้ทุกวัน
อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน
เติมความคิดสติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด
โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ …
อยู่ที่เรียนรู้ ยอมรับมัน
อยู่กับสิ่งที่มีไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

แหล่งที่มา: Musixmatch
นักแต่งเพลง: Chiwin Kosiyabong
เนื้อเพลง Live & Learn © Warner Music Thailand Co Ltd

ศิษย์เก่าเกียรติยศ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำกล่าวของศาสตราจารย์ผู้เป็นอาจารย์ของข้าพเจ้ากล่าวถึงผลการวิจัยที่พบว่า  นิสิตที่จบจากคณะครุศาสตร์มีจำนวนน้อยมากที่จะไปประกอบอาชีพครู   ท่านกล่าวว่าเราจะมีคณะครุศาสตร์ไปทำไมถ้านิสิตที่จบไปไม่ประกอบอาชีพครู  เราจะไปบอกใครว่าคณะของเราผลิตครูที่ดีที่สุดได้อย่างไร  ถ้าลูกศิษย์ที่จบออกไปไม่ไปแสดงความสามารถในความเป็นครูให้เป็นที่ประจักษ์   ครูที่เป็นเลิศจะสร้างศิษย์ที่เป็นเลิศ  ครูผู้ทรงคุณธรรมจริยธรรมจะสร้างสรรค์คนดีให้กับสังคม  ความภาคภูมิใจที่สุดของคนเป็นครูไม่ใช่ถ้วยรางวัล ไม่ใช่โล่ห์เกียรติยศ แต่เป็นความสำเร็จของผู้เป็นศิษย์ที่สะท้อนให้เห็นว่าครูเก่งและครูดีขนาดไหนจึงสั่งสอนให้ลูกศิษย์ประสบความสำเร็จในชีวิต เป็นกำลังสำคัญของครอบครัว สังคมและประเทศชาติ   การพัฒนาวิชาชีพครูให้เป็นเลิศทางวิชาการนั้นจำเป็น  แต่การพัฒนาครูให้มีจิตวิญญาณความเป็นครูนั้นสำคัญที่สุด  เพราะอาชีพครูคือรากฐานและเป็นเสาหลักแห่งแผ่นดินอย่างแท้จริง

ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข
ศิษย์เก่าเกียรติยศ ประจำปี 2564  คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันที่ 10 กรกฎาคม 2564

การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
“การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564”
ศูนย์การจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
https://www.slideshare.net/prachyanun1/1-249562779
https://www.slideshare.net/prachyanun1/2-249562824

นวัตกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อความเป็นพลโลก

การประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการ
ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา (สคบศ. วิชาการ ครั้งที่ 2)
“นวัตกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อความเป็นพลโลก”
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และและบุคลากรทางการศึกษา (สคบศ.)
วันที่ 21 – 22 มิถุนายน 2564
https://www.slideshare.net/prachyanun1/ss-249450402

การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ : Workshop

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการพัฒนาอาจารย์
“การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ”
ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วันที่ 10 มิถุนายน 2564

สไลด์บรรยาย

การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีคุณภาพ Workshop (slideshare.net)

“ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ” ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม