กำลังใจ – โฮป


ในยามที่ท้อแท้ ขอเพียงแค่คนหนึ่ง
จะคิดถึง และคอยห่วงใย
ในยามที่ชีวิต หม่นหมองร้องไห้
ขอเพียงมีใคร ปลอบใจ สักคน

ในวันที่โลกร้าง ความหวังให้วาด
มันขาดมันหาย ใคร จะช่วยเติม
เพิ่มพลังใจ ให้ฉันได้เริ่ม
ต่อสู้อีกครั้ง บนหนทางไกล

กำลังใจ จากใครหนอ
ขอเป็นทาน ให้ฝันให้ใฝ่
ให้ชีวิต ได้มีแรงใจ
ให้ดวงใจ ลุกโชนความหวัง
กำลังใจ จากใครหนอ
ขอเป็นทาน ให้ฉันได้ไหม
ดั่งหยาดฝน บนฝากฟ้าไกล
ที่หยาดริน สู่พื้น ดินแห้งผาก

( ซ้ำ * )

ดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Keynote Speaker :
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 6
NCTAECT 6th National Conference on Thai Association Educational Communications and Technology:
บรรยายพิเศษ : DIGITAL TECHNOLOGY FOR LIFELONG LEARNING
ดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
วันเสาร์ที่ 29 เมษายน 2566

Perceptions and the new paradigm of Thai vocational education

Abstract

The objectives were to: 1) assess and analyse students’ perceptions toward vocational education; 2) propose a new paradigm and alternative pathways to change students’ perceptions about vocational education. The use of mixed methods in this study developed a better understanding of secondary students’ decisions towards vocational education. The results obtained from different methods have enriched the understanding of vocational education issues and advanced research in vocational education. A five-point Likert scale questionnaire was used to analyse the perceptions of 802 secondary students from six Thai regions toward vocational education. In-depth interviews with 18 students in grades 7-12 were analysed using a content analysis. Secondary students who had completed or were enrolled in vocational education influenced secondary students’ views on vocational education. A new paradigm is required for new vocational education images, which may modify the image of vocational education and contribute to a new paradigm shift in vocational education.

Keywords

vocational education innovationnew paradigm in vocational educationperceptions of vocational educationvocational learning

Nongluck Manowaluilou, Prachyanun Nilsook and Prompilai Buasuwan (2023) Perceptions and the new paradigm of Thai vocational education.
International Journal of Innovation and Learning. Vol. 33, No. 3 ; pp 344-365. (SCOPUS) https://doi.org/10.1504/IJIL.2023.130101

วันมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 28 เม.ย.2566

ชื่อมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความหมายว่า “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร”“วิโรฒ” มาจากคำว่า “วิโรฒ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า ความงอกงามหรือเจริญ เทียบได้กับคำว่า “วิรุฬห์” ในภาษาบาลีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (อ่านว่า สี-นะ-คะ-ริน-วิ-โรด) มีชื่อย่อ ว่า “มศว” เขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า “Srinakharinwirot University”ปรัชญา (Philosophy)“การศึกษาคือความเจริญงอกงาม” ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า “Education is Growth” และตรงกับภาษาบาลีว่า “สิกขา วิรุฬฺหิ สมฺปตฺตา ”เจริญงอกงามด้วย อารยวัฒิ 5 ประการ1. งอกงามด้วยศรัทธางอกงามด้วยศรัทธาในชีวิต บทบาท และหน้าที่ของตน2. งอกงามด้วยศีลงอกงามด้วยจริยธรรมและความดีงามทั้งปวง3. งอกงามด้วยสุตะงอกงามด้วยการสดับตรับฟังและเรียนรู้ตลอดเวลา4. งอกงามด้วยจาคะงอกงามด้วยความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเอื้ออาทรต่อผู้อื่น5. งอกงามด้วยปัญญางอกงามในการดำรงชีวิต คิด และทำด้วยปัญญา( อง.ปญจก.22/40/47 )ปณิธาน (Pledge)ประชาคมวิชาการแห่งผู้มีความรู้ประดุจนักปราชญ์ และมีความประพฤติประดุจผู้ทรงศีล สมฐานะของผู้นําทางปัญญางานเชิดชูเกียรติ “วันมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ”๗๔ ปี มศว ๒๕๖๖รางวัลศรีสง่าศรีนครินทร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖ศิษย์เก่าดีเด่นด้านวิจัย วิชาการและนวัตกรรมศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุขเนื่องใน “วันมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ”วันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๖We’re pround of you, You are my inspiration. กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงศิษย์แห่ง มศว จะรักษาเกียรตินี้ชั่วชีวิต